บันทึกครั้ง 5
วัน ศุกร์ ที่ 11 ธันวาคม 2552
1.อาจารย์ให้รายงานนำเสอนหน้าชั้นเรียน
เรื่อง การจัดประสบการณ์สำหรับเด็ก
2.อาจาราย์แนะนำเพิ่มเติม
เพลง ก.ไก่
วันศุกร์ที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2552
วันศุกร์ที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2552
วันศุกร์ ที่4 ธันวาคม 2532
บันทึกการเรียนครั้งที่ 5
1.อาจารย์ให้นำเสมองานกลุ่ม
- เรื่องหลักการจัดประสบการณ์ให้แก่เด็กปฐมวัย
หลักการจัดประสบการณ์ให้แก่เด็กปฐมวัยนั้น ควรจัดให้สอดคล้องกับพัฒนาการของเด็กคำนึงถึงตัวเด็กเป็นหลักจัดประสบการณ์ให้เด็กเพื่อส่งเสริมพัฒนาทุกด้าน เช่น ทักษะทางภาษา
ความหมายของภาษา ความสามารถทางภาษา หมายถึง การรับรู้และการแสดงออกทางภาษาโดยใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ของเด็กอายุ 5-6 ปี แบ่งเป็น 4 ด้าน ดังนี้
1 ความสามารถด้านการฟัง หมายถึง การตั้งใจรับรู้เสียงที่ได้ยิน โดยสัมผัสทางหูและส่งไปผ่านสมอง เพื่อแปรความหมายให้เกิดความเข้าใจในสิ่งที่ได้ยิน 2 ความสามารถด้านการพูด หมายถึง การเปล่งเสียงออกมาเป็นคำ ประโยคอย่างมีความหมาย หรือแสดงออกเป็นภาษาท่าทาง เพื่อให้ผู้ฟังเกิดความเข้าใจ 3 ความสามารถด้านการอ่าน หมายถึง การแปลความหมายจากสื่อ สัญลักษณ์ ที่เห็นของจริง แผ่นภาพ ตัวอักษรได้อย่างถูกต้อง 4 ความสามารถด้านการเขียน หมายถึง การบังคับกล้ามเนื้อมือ ให้สัมพันธ์กับตาและสามารถเขียนเป็นภาพ สัญลักษณ์ ตัวอักษรให้ผู้อื่นเข้าใจความหมาย
ความสามารถทางภาษาที่กล่าวข้างต้นนี้
สามารถวัดโดยการเก็บรวบรวมผลงานที่เด็กสร้างขึ้น ปัจจุบันการจัดสิ่งแวดล้อมที่ดีมีสถานเลี้ยงเด็กที่ได้มาตรฐาน มีพี่เลี้ยงเด็กที่มีความรู้ เข้าใจ ความต้องการ พัฒนาการเด็กจะส่งผลให้เด็กได้รับความรัก ความอบอุ่น ความมั่งคงทางจิตใจ เมื่อเด็กโตขึ้นสามารถปรับตัวให้เข้ากับสังคมได้อย่างมีความสุข หนังสือสำหรับเด็กจะทำให้เด็กเป็นผู้มีสุขภาพจิตดี มีความสุข มองโลกในแง่ดีและปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อมได้ ในการจัดประสบการณ์ให้กับเด็กปฐมวัยเพื่อส่งเสริมพัฒนาการของเด็กในการสร้างหนังสือสำหรับเด็ก การอ่านคำกลอนให้เด็กฟังเป็นเทคนิคหนึ่งที่นิยมนำมาใช้กับเด็กปฐมวัย ทั้งนี้เพราะคำกลอนเป็นสื่อที่เด็กคุ้นเคย ให้ความสนุกสนานและความรู้ เด็กสามารถเก็บความจากเรื่องที่ฟังได้สมควรแก่วัย การที่ครูอ่านคำกลอนให้เด็กฟังแล้วให้เด็กมีความคิดสร้างสรรค์จากคำกลอนโดยครูมีคำถามมาใช้ประกอบการจัดกิจกรรมความคิดสร้างสรรค์ด้วยนั้น เป็นการส่งเสริมการแสดงออก ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
แหล่งที่มา http://www.kroobannok.com/view.php?article_id=5868 http://www.vcharkarn.com/vblog/34707/2
วันพฤหัสบดีที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2552
สรุปเทคนิคการสอน
...บันทึกครั้งที่4 ...
เทคนิคการสอนภาษา
การสอนภาษาสำหรับเด็กไม่ใช้เพียงการสอนเฉพาะทักษะการอ่านและการเขียนเท่านั้นครูสามารถประเมินการสอนได้โดยสังเกตเด็กว่าเด็กรู้สึกเครียด เบื่อ ไม่สนุก แสดงว่าครูสอนไม่ถูกต้อง
แนวคิดพื้นฐานของการสอนภาษา
1. ครูต้องรู้ว่าเด็กของเราเรียนรู้ได้อย่างไร
2. ประสบการณ์ทางด้านภาษาเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา
3. เชื่อว่าเด็กทุกคนสามารถเรียนรู้ได้
4. เด็กเรียนรู้ได้ดี ถ้าสอนแบบ Whole Language คือ
- สอนอย่างเป็นธรรมชาติ
- สอนอย่างมีความหมายต่อเด็ก
- สอนแล้วเด็กสามารถนำคำสอนไปใช้ได้ด้วย
- เนื้อหาที่จะสอนจะต้องใช้ในชีวิตประจำวัน
5. เด็กจะเรียนรู้ได้ดีจะต้องเกิดจากการตัดสิ้นใจของเด็กเอง
6. .ให้เด็กรู้สึกว่าเป็นส่วนหนึ่งของสังคมของห้อง
7. ไม่ควรทำเด็กรู้สึกกดดัน
8. ครูจะต้องสอนทักษะไปพร้อมๆกัน
9. ทำให้การเรียนรู้เป็นสิ่งที่น่าสนใจและสนุกสนาน
ครูสอนภาษาได้อย่างไร
การจะเริ่มสอนภาษาให้เด็กควรเริ่มจากสิ่งที่เด็กสนใจ ครูต้องยอมรับภาษาที่เด็กใช้ จะต้องทำการประเมินหรือสังเกตเด็กในเรื่องเรียนว่าเด็กทำได้มากน้อยเพียงใด และควรส่งเสริมให้เด็กกล้าแสดงตน ในความรู้สึก กล้าลองผิดลองถูก และพัฒนาด้านจิพิสัย
ข้อควรปฏิบัติในการสอนภาษา
ครูควรสอนให้เป็นธรรมชาติมากที่สุด ควรบูรณาการ การเรียนการสอนให้น่าสนใจ จัดกิจกรรมให้เด็กเก่งและเด็กอ่อนมีส่วนร่วมด้วยกันเพื่อมิให้เด็กเกิดปมด้อย ครูควรทำให้เด็กเกิดความสนใจ ในการสอนเกิดแรงกระตุ้นให้เด็กจำคำต่างๆและสอนให้เด็กสะกดชื่อตัวเอง ครูควรเขียนให้เด็กดูเพื่อให้เด็กจดจำได้ง่าย
เทคนิคการสอนภาษา
การสอนภาษาสำหรับเด็กไม่ใช้เพียงการสอนเฉพาะทักษะการอ่านและการเขียนเท่านั้นครูสามารถประเมินการสอนได้โดยสังเกตเด็กว่าเด็กรู้สึกเครียด เบื่อ ไม่สนุก แสดงว่าครูสอนไม่ถูกต้อง
แนวคิดพื้นฐานของการสอนภาษา
1. ครูต้องรู้ว่าเด็กของเราเรียนรู้ได้อย่างไร
2. ประสบการณ์ทางด้านภาษาเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา
3. เชื่อว่าเด็กทุกคนสามารถเรียนรู้ได้
4. เด็กเรียนรู้ได้ดี ถ้าสอนแบบ Whole Language คือ
- สอนอย่างเป็นธรรมชาติ
- สอนอย่างมีความหมายต่อเด็ก
- สอนแล้วเด็กสามารถนำคำสอนไปใช้ได้ด้วย
- เนื้อหาที่จะสอนจะต้องใช้ในชีวิตประจำวัน
5. เด็กจะเรียนรู้ได้ดีจะต้องเกิดจากการตัดสิ้นใจของเด็กเอง
6. .ให้เด็กรู้สึกว่าเป็นส่วนหนึ่งของสังคมของห้อง
7. ไม่ควรทำเด็กรู้สึกกดดัน
8. ครูจะต้องสอนทักษะไปพร้อมๆกัน
9. ทำให้การเรียนรู้เป็นสิ่งที่น่าสนใจและสนุกสนาน
ครูสอนภาษาได้อย่างไร
การจะเริ่มสอนภาษาให้เด็กควรเริ่มจากสิ่งที่เด็กสนใจ ครูต้องยอมรับภาษาที่เด็กใช้ จะต้องทำการประเมินหรือสังเกตเด็กในเรื่องเรียนว่าเด็กทำได้มากน้อยเพียงใด และควรส่งเสริมให้เด็กกล้าแสดงตน ในความรู้สึก กล้าลองผิดลองถูก และพัฒนาด้านจิพิสัย
ข้อควรปฏิบัติในการสอนภาษา
ครูควรสอนให้เป็นธรรมชาติมากที่สุด ควรบูรณาการ การเรียนการสอนให้น่าสนใจ จัดกิจกรรมให้เด็กเก่งและเด็กอ่อนมีส่วนร่วมด้วยกันเพื่อมิให้เด็กเกิดปมด้อย ครูควรทำให้เด็กเกิดความสนใจ ในการสอนเกิดแรงกระตุ้นให้เด็กจำคำต่างๆและสอนให้เด็กสะกดชื่อตัวเอง ครูควรเขียนให้เด็กดูเพื่อให้เด็กจดจำได้ง่าย
วันศุกร์ที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552
วันที่ ศุกร์ 13 52
วันนี้อาจารย์ให้นักศึกษา แบ่งกลุ่ม กลุ่ม 5 คน ให้ศึกษาค้นคว้า
เรื่อง หลักการจัดประสบการณ์ ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
ค้นหาจาก:(http://www.mahidol.ac.th/mahidol/ra/rapc/c4.html)
ค้นหาจาก http://www.vcharkarn.com/vblog/34707/2
กระบวนการจัดการเรียนรู้และประสบการณ์ภาษา (เสริม)
การจัดการเรียนรู้และประสบการณ์ภาษา สำหรับเด็กปฐมวัยที่จะให้ได้รับผลสำเร็จตามเป้าหมาย ต้องมีองค์ประกอบและการดำเนินงาน ต่อไปนี้
1. การวางแผนการจัดการเรียนรู้
2. หลักการจัดการเรียนรู้ทางภาษา
3. บทบาทและหน้าที่ของครู
4.การจัดสภาพแวดล้อมเพื่อการสอนภาษาตามธรรมชาติ
เด็กปฐมวัยเป็นวัยที่มีพัฒนาการต่อจากวัยทารกอยู่ในช่วงอายุ 3 – 6 ปี ซึ่งนักจิตวิทยาและนักการศึกษา ต่างให้ความสำคัญกับเด็กในวัยนี้เป็นอย่างมาก โดยเฉพาะเด็กในช่วงอายุ 6 ปีแรก ซึ่งถือได้ว่าเป็นช่วงเวลาแห่งการเรียนรู้และมีพัฒนาการทางด้านต่างๆอย่างรวดเร็ว ไม่ว่าจะเป็นในด้านการเจริญเติบโตทางร่างกาย ที่มีการเปลี่ยนแปลงทางสัดส่วนในรูปแบบที่ใกล้เคียงกับวัยผู้ใหญ่มากขึ้น ความสามารถในการควบคุมกล้ามเนื้อและอวัยวะต่างๆ รวมถึงรูปแบบการคิดอ่าน การสร้างความสัมพันธ์กับบุคคลแวดล้อม ตลอดจนการพัฒนาความเป็นตัวของตัวเองอย่างเต็มที่ซึ่งโดยปกติเด็กวัยนี้จะมีพัฒนาการที่สำคัญคือ
1. พัฒนาการทางด้านร่างกาย เช่น แขนและขาจะยาวออกไป ศีรษะจะได้ขนาดกับลำตัว โครงกระดูกแข็งแรงขึ้น เริ่มมีทักษะในการเคลื่อนไหวส่วนต่างๆของร่างกาย เช่น รู้จัก การป้อนข้าวเอง แต่งตัวได้เอง ใส่รองเท้าและอาบน้ำได้ด้วยตนเอง ในปลายวัยเด็กตอนต้นฟันแท้จะเริ่มขึ้น 1-2 ซี่
2. พัฒนาการทางอารมณ์ เด็กวัยนี้มักเป็นคนเจ้าอารมณ์ หงุดหงิด โกรธง่าย ดื้อรั้นเป็น
วัยที่เรียกว่าชอบปฏิเสธ และอาการดังกล่าวจะค่อยๆ หายไปเอง เมื่อเด็กเข้าโรงเรียนและมีเพื่อนเล่น แต่อย่างไรก็ตาม พัฒนาการทางอารมณ์ของเด็กจะมั่นคงเพียงใดขึ้นอยู่กับการอบรมเลี้ยงดูเป็นสำคัญ
3. พัฒนาการทางสังคม เริ่มรู้จักการคบเพื่อน เล่นกับเพื่อน ปรับตัวให้เข้ากับเพื่อน รู้จัก
การร่วมมือ การยอมรับฟัง เริ่มรู้จักการแข่งขันระหว่างกลุ่มเมื่ออายุ 4-5 ขวบ และมักเล่นกับเพื่อนเพศเดียวกัน การเล่นกับเพื่อนนี้จะช่วยให้เด็กเกิดความรู้สึกอบอุ่น ไม่รู้สึกว่าตนเองถูกทอดทิ้ง
4. พัฒนาการทางภาษา จะเป็นไปทีละขั้น เริ่มใช้ภาษาได้ดีพอสมควร รู้จักศัพท์เพิ่มขึ้น
รวดเร็ว เรียนรู้คำใหม่ๆมากขึ้น
ทฤษฎีพัฒนาการด้านภาษา
1. ทฤษฎีความพึงพอใจแห่งตน
2. ทฤษฎีการเลียนแบบ (The Imitation Theory)
3. ทฤษฎีเสริมกำลัง (Reinforcement Theory)
4. ทฤษฎีการรับรู้ (Motor Theory of Perception)
บทบาทของครูปฐมวัย
เมื่อถึงเวลาเข้าสู่สังคมแห่งการศึกษาในโรงเรียน บุคคลที่มีความสำคัญไม่แพ้ “พ่อ” “แม่” นั่นคือ ครู เนื่องจากเมื่อเด็กเข้าสู่วัยเรียน ครูจะเป็นผู้ที่คอยให้ความรู้และรักษากฎระเบียบ โดย ครูเฉพาะการเป็นตัวแบบที่ดีให้กับเด็ก ซึ่งครูมีสิ่งที่ต้องคำนึงถึง คือ
1. ความรู้ของครู หากครูมีความรู้เกี่ยวกับหลักการและวิธีการพัฒนาทักษะทางภาษาได้
2. เจตคติของครู หรือความรู้สึกที่เห็นความสำคัญของการพัฒนาทักษะทางภาษา ย่อม
3. บุคลิกภาพและพฤติกรรมของครู เนื่องจากเด็กสามารถเรียนรู้และเลียนแบบจากครู
4. ความสามารถในการใช้ภาษาของครู หากครูมีความสามารถในการเลือกใช้คำ
5. การสอนของครู ครูมีบทบาทและหน้าที่โดยตรงในการจัดกิจกรรมให้กับเด็ก ถ้าครูจัด
ปัจจุบันการจัดสิ่งแวดล้อมที่ดีมีสถานเลี้ยงเด็กที่ได้มาตรฐาน มีพี่เลี้ยงเด็กที่มีความรู้ เข้าใจ ความต้องการ พัฒนาการเด็กจะส่งผลให้เด็กได้รับความรัก ความอบอุ่น ความมั่งคงทางจิตใจ เมื่อเด็กโตขึ้นสามารถปรับตัวให้เข้ากับสังคมได้อย่างมีความสุข หนังสือสำหรับเด็กจะทำให้เด็กเป็นผู้มีสุขภาพจิตดี มีความสุข มองโลกในแง่ดีและปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อมได้
ในการจัดประสบการณ์ให้กับเด็กปฐมวัยเพื่อส่งเสริมพัฒนาการของเด็กในการสร้างหนังสือสำหรับเด็ก การอ่านคำกลอนให้เด็กฟังเป็นเทคนิคหนึ่งที่นิยมนำมาใช้กับเด็กปฐมวัย ทั้งนี้เพราะคำกลอนเป็นสื่อที่เด็กคุ้นเคย ให้ความสนุกสนานและความรู้ เด็กสามารถเก็บความจากเรื่องที่ฟังได้สมควรแก่วัย
บันทึกการเรียนครั้งที่ 2
1.อาจารย์ตรวจเครื่องแต่งกายนักศึกษา
2.อาจารย์พูดคุยแนะนำการทำบล็อก
3.อาจารย์ให้นำข้อมูลที่ค้นคว้าลงในบล็อกของตนเอง
วันนี้อาจารย์ให้นักศึกษา แบ่งกลุ่ม กลุ่ม 5 คน ให้ศึกษาค้นคว้า
เรื่อง หลักการจัดประสบการณ์ ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
ค้นหาจาก:(http://www.mahidol.ac.th/mahidol/ra/rapc/c4.html)
ค้นหาจาก http://www.vcharkarn.com/vblog/34707/2
กระบวนการจัดการเรียนรู้และประสบการณ์ภาษา (เสริม)
การจัดการเรียนรู้และประสบการณ์ภาษา สำหรับเด็กปฐมวัยที่จะให้ได้รับผลสำเร็จตามเป้าหมาย ต้องมีองค์ประกอบและการดำเนินงาน ต่อไปนี้
1. การวางแผนการจัดการเรียนรู้
2. หลักการจัดการเรียนรู้ทางภาษา
3. บทบาทและหน้าที่ของครู
4.การจัดสภาพแวดล้อมเพื่อการสอนภาษาตามธรรมชาติ
เด็กปฐมวัยเป็นวัยที่มีพัฒนาการต่อจากวัยทารกอยู่ในช่วงอายุ 3 – 6 ปี ซึ่งนักจิตวิทยาและนักการศึกษา ต่างให้ความสำคัญกับเด็กในวัยนี้เป็นอย่างมาก โดยเฉพาะเด็กในช่วงอายุ 6 ปีแรก ซึ่งถือได้ว่าเป็นช่วงเวลาแห่งการเรียนรู้และมีพัฒนาการทางด้านต่างๆอย่างรวดเร็ว ไม่ว่าจะเป็นในด้านการเจริญเติบโตทางร่างกาย ที่มีการเปลี่ยนแปลงทางสัดส่วนในรูปแบบที่ใกล้เคียงกับวัยผู้ใหญ่มากขึ้น ความสามารถในการควบคุมกล้ามเนื้อและอวัยวะต่างๆ รวมถึงรูปแบบการคิดอ่าน การสร้างความสัมพันธ์กับบุคคลแวดล้อม ตลอดจนการพัฒนาความเป็นตัวของตัวเองอย่างเต็มที่ซึ่งโดยปกติเด็กวัยนี้จะมีพัฒนาการที่สำคัญคือ
1. พัฒนาการทางด้านร่างกาย เช่น แขนและขาจะยาวออกไป ศีรษะจะได้ขนาดกับลำตัว โครงกระดูกแข็งแรงขึ้น เริ่มมีทักษะในการเคลื่อนไหวส่วนต่างๆของร่างกาย เช่น รู้จัก การป้อนข้าวเอง แต่งตัวได้เอง ใส่รองเท้าและอาบน้ำได้ด้วยตนเอง ในปลายวัยเด็กตอนต้นฟันแท้จะเริ่มขึ้น 1-2 ซี่
2. พัฒนาการทางอารมณ์ เด็กวัยนี้มักเป็นคนเจ้าอารมณ์ หงุดหงิด โกรธง่าย ดื้อรั้นเป็น
วัยที่เรียกว่าชอบปฏิเสธ และอาการดังกล่าวจะค่อยๆ หายไปเอง เมื่อเด็กเข้าโรงเรียนและมีเพื่อนเล่น แต่อย่างไรก็ตาม พัฒนาการทางอารมณ์ของเด็กจะมั่นคงเพียงใดขึ้นอยู่กับการอบรมเลี้ยงดูเป็นสำคัญ
3. พัฒนาการทางสังคม เริ่มรู้จักการคบเพื่อน เล่นกับเพื่อน ปรับตัวให้เข้ากับเพื่อน รู้จัก
การร่วมมือ การยอมรับฟัง เริ่มรู้จักการแข่งขันระหว่างกลุ่มเมื่ออายุ 4-5 ขวบ และมักเล่นกับเพื่อนเพศเดียวกัน การเล่นกับเพื่อนนี้จะช่วยให้เด็กเกิดความรู้สึกอบอุ่น ไม่รู้สึกว่าตนเองถูกทอดทิ้ง
4. พัฒนาการทางภาษา จะเป็นไปทีละขั้น เริ่มใช้ภาษาได้ดีพอสมควร รู้จักศัพท์เพิ่มขึ้น
รวดเร็ว เรียนรู้คำใหม่ๆมากขึ้น
ทฤษฎีพัฒนาการด้านภาษา
1. ทฤษฎีความพึงพอใจแห่งตน
2. ทฤษฎีการเลียนแบบ (The Imitation Theory)
3. ทฤษฎีเสริมกำลัง (Reinforcement Theory)
4. ทฤษฎีการรับรู้ (Motor Theory of Perception)
บทบาทของครูปฐมวัย
เมื่อถึงเวลาเข้าสู่สังคมแห่งการศึกษาในโรงเรียน บุคคลที่มีความสำคัญไม่แพ้ “พ่อ” “แม่” นั่นคือ ครู เนื่องจากเมื่อเด็กเข้าสู่วัยเรียน ครูจะเป็นผู้ที่คอยให้ความรู้และรักษากฎระเบียบ โดย ครูเฉพาะการเป็นตัวแบบที่ดีให้กับเด็ก ซึ่งครูมีสิ่งที่ต้องคำนึงถึง คือ
1. ความรู้ของครู หากครูมีความรู้เกี่ยวกับหลักการและวิธีการพัฒนาทักษะทางภาษาได้
2. เจตคติของครู หรือความรู้สึกที่เห็นความสำคัญของการพัฒนาทักษะทางภาษา ย่อม
3. บุคลิกภาพและพฤติกรรมของครู เนื่องจากเด็กสามารถเรียนรู้และเลียนแบบจากครู
4. ความสามารถในการใช้ภาษาของครู หากครูมีความสามารถในการเลือกใช้คำ
5. การสอนของครู ครูมีบทบาทและหน้าที่โดยตรงในการจัดกิจกรรมให้กับเด็ก ถ้าครูจัด
ปัจจุบันการจัดสิ่งแวดล้อมที่ดีมีสถานเลี้ยงเด็กที่ได้มาตรฐาน มีพี่เลี้ยงเด็กที่มีความรู้ เข้าใจ ความต้องการ พัฒนาการเด็กจะส่งผลให้เด็กได้รับความรัก ความอบอุ่น ความมั่งคงทางจิตใจ เมื่อเด็กโตขึ้นสามารถปรับตัวให้เข้ากับสังคมได้อย่างมีความสุข หนังสือสำหรับเด็กจะทำให้เด็กเป็นผู้มีสุขภาพจิตดี มีความสุข มองโลกในแง่ดีและปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อมได้
ในการจัดประสบการณ์ให้กับเด็กปฐมวัยเพื่อส่งเสริมพัฒนาการของเด็กในการสร้างหนังสือสำหรับเด็ก การอ่านคำกลอนให้เด็กฟังเป็นเทคนิคหนึ่งที่นิยมนำมาใช้กับเด็กปฐมวัย ทั้งนี้เพราะคำกลอนเป็นสื่อที่เด็กคุ้นเคย ให้ความสนุกสนานและความรู้ เด็กสามารถเก็บความจากเรื่องที่ฟังได้สมควรแก่วัย
บันทึกการเรียนครั้งที่ 2
1.อาจารย์ตรวจเครื่องแต่งกายนักศึกษา
2.อาจารย์พูดคุยแนะนำการทำบล็อก
3.อาจารย์ให้นำข้อมูลที่ค้นคว้าลงในบล็อกของตนเอง
วันศุกร์ที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552
ชื่อ น.ส. ซุนีตา เจ๊ะนุ รหัส 5111209853
วันที่ ศุกร์ 6 พฤศจิกายน 2552
เรียนวันแรก
1. การจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
หมายถึง การจัดการเรียนรู้ให้เด็กเกิดการเรียนรู้โดยการในภาษาในการถ่ายทอดความรู้และให้เด็กได้แสดงออกโดยการในภาษาในการพูดออกมา หรือต้องการสิ่งใด สามารถแสดงออกมาได้
บรรยายกาศในห้องเรียน
2.บรรยากาศในห้องเรียน
ควรจัดมุมสื่อการเรียนรู้จากสัญญาลักษณ์โดยการถ่ายทอดออกมาและเกิดภาษาขึ้น ห้องมีความอบอุ่น หน้าเรียน
3.สรุปใจความสำคัญที่อาจารย์ได้พูด
การจัดประสบการณ์ให้เด็กปฐมวัยนั้น ต้องให้เด็กได้เรียนรู้ทั้ง 5 ประสาทสัมผัส
และการถ่ายทอดความรู้สึกกออกมาโดยการใช้ภาษาและความรู้สึก ที่จิตใจนึกคิดจากที่ได้สัมผัส
4.สรุปเปรียบเทียบ
การจัดประสบการให้เด็กนั้นเราควรหาให้ได้สัมผัสกับสิ่งนั้นให้เกิดการเรียนรู้ก่อนจึงจะสามารถแสดงออกมาให้เป็นผลดี
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)